ค่าธรรมเนียมการทําธุรกรรมและการซื้อขาย
ณ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2566
ค่าธรรมเนียมการฝาก | ไม่มีค่าธรรมเนียม |
ค่าธรรมเนียมการถอน | 20 บาท / รายการ |
ค่าธรรมเนียมการซื้อ | 5 บาท / รายการ |
ค่าธรรมเนียมการขาย | 5 บาท / รายการ |
ค่าธรรมเนียมการทําธุรกรรมและการซื้อขาย
ณ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2566
มูลค่าการจองซื้อ ไม่เกิน 30,000 บาท | 15 บาท / รายการ |
มูลค่าการจองซื้อ ตั้งแต่ 30,001 – 100,000 บาท | 30 บาท / รายการ |
มูลค่าการจองซื้อ ตั้งแต่ 100,001 – 300,000 บาท | 50 บาท / รายการ |
มูลค่าการจองซื้อ มากกว่า 300,000 บาท | 70 บาท / รายการ |
ประเภทการเสนอขาย
การเสนอขายต่อบุคคลจํากัด
หมายถึงการขายโทเคนให้กับนักลงทุนในวงจํานวนจํากัด ซึ่งอยู่ภายใต้ข้อบังคับและหลักเกณฑ์ที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต.
การเสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป
การเสนอขายต่อประชาชนได้เป็นวงกว้างหรือเป็นการทั่วไป โดยไม่จํากัดจํานวนผู้ลงทุนและมูลค่าการระดมทุน ซึ่งอยู่ภายใต้ข้อบังคับและแนวปฏิบัติที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. เพื่อให้เกิดความโปร่งใส ยุติธรรม และคุ้มครองผู้ลงทุน
ประเภทบัญชี
ระดับบัญชีผู้ใช้แฟรคชั่นจะเป็นตัวกำหนดเกณฑ์การซื้อขายของคุณ และยังรวมไปถึงสิทธิ์ในการเข้าถึงส่วนต่าง ๆ บนแพลตฟอร์ม คุณสามารถปลดล็อคคุณสมบัติและสิทธิ์บัญชีผู้ใช้ของคุณเพิ่มเติมเมื่อคุณได้อัปเกรดระดับบัญชีผู้ใช้แฟรคชั่นตามรายการด้านล่าง:
ระดับที่ 1 (Basic)
วงเงินฝาก | 10,000 บาท |
วงเงินถอนภายใน 24 ช.ม. | 10,000 บาท |
วงเงินจองซื้อต่อการจองซื้อ
|
|
ขีดจํากัดการทําธุรกรรม | ไม่จํากัด |
|
ระดับที่ 2 (General)
วงเงินฝาก | ไม่จำกัด |
วงเงินถอนภายใน 24 ช.ม. | 1,000,000 บาท |
วงเงินจองซื้อต่อการจองซื้อ
|
|
ขีดจํากัดการทําธุรกรรม | ไม่จํากัด |
|
บัญชีที่ได้รับการรับรอง
วงเงินฝาก | ไม่จำกัด |
วงเงินถอนภายใน 24 ช.ม. | 10,000,000 บาท |
วงเงินการสมัครสมาชิก | ไม่จำกัด |
ขีดจํากัดการทําธุรกรรม | ไม่จำกัด |
| |
ดูข้อกําหนดด้านเอกสาร |
หากคุณต้องการอัปเกรดบัญชีเป็นประเภทบัญชีที่ได้รับการรับรอง สําหรับบุคคลที่มีสินทรัพย์มูลค่าสูง ภายหลังจากขั้นตอนการตั้งค่าบัญชีให้เสร็จสมบูรณ์ คุณสามารถแจ้งความประสงค์การสมัครได้ที่หน้าบัญชี เลือกนักลงทุนที่ได้รับการรับรอง และกด ‘อัปเกรดบัญชี’ เพื่อแนบเอกสารประกอบการอัปเกรดบัญชีเป็นนักลงทุนที่ได้รับการรับรองมาที่ support@fraction.co โดยสามารถดูเอกสารประกอบนี้ได้ที่
บัญชีนิติบุคคล
ประเภทบัญชีนิติบุคคล สําหรับบริษัท องค์กร หรือสํานักงาน
ระดับที่ 1 (General)
วงเงินฝาก | ไม่จำกัด |
วงเงินถอนภายใน 24 ช.ม. | 1,000,000 บาท |
วงเงินจองซื้อต่อการจองซื้อ
|
|
ขีดจํากัดการทําธุรกรรม: | ไม่จำกัด |
บัญชีที่ได้รับการรับรอง
วงเงินฝาก | ไม่จำกัด |
วงเงินถอนภายใน 24 ช.ม. | 10,000,000 บาท |
วงเงินจองซื้อต่อการจองซื้อ | ไม่จำกัด |
ขีดจํากัดการทําธุรกรรม: | ไม่จำกัด |
หากคุณต้องการอัปเกรดบัญชีเป็นประเภทบัญชีที่ได้รับการรับรอง ภายหลังจากขั้นตอนการตั้งค่าบัญชีให้เสร็จสมบูรณ์ คุณสามารถแจ้งความประสงค์การสมัครได้ที่หน้าบัญชี เลือกนักลงทุนที่ได้รับการรับรอง และกด ‘อัปเกรดบัญชี’ เพื่อแนบเอกสารประกอบการอัปเกรดบัญชีเป็นนิติบุคคลที่ได้รับการรับรองมาที่ support@fraction.co โดยสามารถดูเอกสารประกอบนี้ได้ที่
บัญชีสถาบัน
วงเงินฝาก | ไม่จํากัด |
วงเงินถอน: | ตามตกลง |
วงเงินการสมัครสมาชิก | ตามข้อกําหนดของโครงการ |
ขีดจํากัดการทําธุรกรรม | ไม่จํากัด |
ดูข้อกําหนดด้านเอกสาร |
เอกสารที่จําเป็นในการอัปเกรดเป็นนักลงทุนที่ได้รับการรับรอง
บุคคลและคู่สมรส
มูลค่าทรัพย์สินสุทธิสูงกว่า 30 ล้านบาท (ไม่รวมที่อยู่อาศัยที่ใช้อยู่อาศัย) ตัวอย่างเอกสารที่ใช้ยืนยัน
|
หลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าสูงกว่า 8 ล้านบาท หรือ 15 ล้านบาท หากรวมเงินฝากธนาคาร ตัวอย่างเอกสารที่ใช้ยืนยัน
|
รายได้รวมต่อปีสูงกว่า 3 ล้านบาท ตัวอย่างเอกสารที่ใช้ยืนยัน
|
นิติบุคคล
มูลค่าทรัพย์สินสุทธิสูงกว่า 75 ล้านบาท ตัวอย่างเอกสารที่ใช้ยืนยัน
|
หลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าสูงกว่า 15 ล้านบาท หรือ 30 ล้านบาท หากรวมเงินฝากธนาคาร ตัวอย่างเอกสารที่ใช้ยืนยัน
|
รายได้รวมต่อปีN/A |
การตั้งค่าบัญชีให้เสร็จสมบูรณ์สําหรับบัญชีประเภทนิติบุคคล
เมื่อคุณเปิดบัญชีสําเร็จ ให้คุณไปที่ หน้าแรก หรือ บัญชี เพื่อตั้งค่าบัญชีให้เสร็จสมบูรณ์ และสามารถทําธุรกรรมบนแอปพลิเคชั่นแฟรคชั่นได้ ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการตรวจสอบการมีตัวตนของลูกค้า (KYC/CDD) และการเปิดใช้งานวอลเล็ท โดยคุณสามารถส่งเอกสารประกอบการเปิดบัญชีนิติบุคคลทั้ง 12 เอกสาร มาที่ support@fraction.co.
12 Supporting Documents
1. | แบบฟอร์มสําหรับเปิดบัญชีกับแฟรคชั่น | 1 copy |
2. | แบบฟอร์มการเปิดวอลเล็ทกับบริษัท ทีทูพี จํากัด | 1 copy |
3. | สําเนามติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทให้เปิดบัญชีกับบริษัท แฟรคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด รับรองสําเนาถูกต้องพร้อมตราประทับบริษัท | 1 ชุด |
4. | สําเนาข้อบังคับบริษัท | 1 ชุด |
5. | สําเนาหนังสือบริคณห์สนธิ (บอจ. 2) (ถ้ามี) | 1 ชุด |
6. | สําเนางบการเงินของบริษัทย้อนหลัง 2 ปี | 1 ชุด |
7. | สําเนาหน้าแรกของสมุดบัญชีธนาคารบริษัทแบบออมทรัพย์ | 1 ชุด |
8. | หนังสือมอบอํานาจกรณีที่กรรมการไม่ได้เป็นผู้เปิดบัญชีด้วยตนเอง | 2 ชุด |
9. | สําเนาหนังสือรับรองบริษัทที่ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ไม่เกิน 6 เดือน | 2 ชุด |
10. | สําเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ. 5) โดยรับรองสําเนาถูกต้องพร้อมตราประทับบริษัท (ถ้ามี) | 2 ชุด |
11. | สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (แบบ ภ.พ. 20) (ถ้ามี) | 2 ชุด |
12. | สําเนาบัตรประชาชนหรือสําเนาหนังสือเดินทางของกรรมการบริษัทและผู้ดูแลบัญชี พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง | 2 ชุด |
หมายเหตุ:
- เอกสารที่เป็นสําเนาต้องลงลายมือรับรองโดยผู้มีอํานาจลงนาม ทุกฉบับ
- สําหรับเอกสาร 1-10 ชุดที่ 1 ให้เขียนว่า “ใช้เพื่อประกอบการเปิดบัญชีนิติบุคคลกับบริษัท แฟรคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด”
- สําหรับเอกสาร 6-10 ชุดที่ 2 ให้เขียนว่า “ใช้เพื่อประกอบการเปิดบัญชีนิติบุคคลกับบริษัท ทีทูพี จํากัด”
- พร้อมระบุ วัน เดือน ปี ที่ได้ลงนามในเอกสารทุกชุด
- และเขียนสําเนาถูกต้องและเซ็นชื่อรับรอง ในเอกสารทุกชุด เพื่อป้องกันการลบหรือปลอมแปลง
นักลงทุนรูปแบบสถาบันหมายถึงผู้ลงทุนรายใดรายหนึ่งดังต่อไปนี้
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- ธนาคารพาณิชย์
- ธนาคารที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
- บริษัทเงินทุน
- บริษัทเครดิตฟองซิเอร์
- บริษัทหลักทรัพย์
- บริษัทประกันวินาศภัย
- บริษัทประกันชีวิต
- กองทุนรวม
- กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนดังนี้
- ผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (9) หรือ (11) ถึง (24) หรือ (26)
- ผู้ลงทุนตาม (25) ทั้งนี้ เฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทดังกล่าว
- ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านฐานะทางการเงนิ เทียบเท่าผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่
- กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
- กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ
- กองทุนประกันสังคม
- กองทุนการออมแห่งชาติ
- กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
- ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
- ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า
- สถาบันการเงินระหว่างประเทศ
- สถาบันคุ้มครองเงินฝาก
- ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- นิติบุคคลประเภทบรรษัท
- นิติบุคคลที่มีผู้ลงทุนถือหุ้นตาม (1) ถึง (21) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด
- ผู้ลงทุนต่างประเทศที่มีลักษณะทำนองเดียวกับผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (22) หรือ (23) หรือ (26)
- ผู้ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการลงทุนได้แก่
- ผู้จัดการกองทุน หรือผู้จัดการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
- นักวิเคราะห์การลงทุนที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน
- ผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะ (angel investor) ดังนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่ออกตามประกาศเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์โดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) หรือวิสาหกิจเริ่มต้น (startup) หรือหลักทรัพย์ที่เสนอขายผ่านผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (crowdfunding portal) ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
- ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
- ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (crowdfunding portal) ที่ได้รับ ความเห็นชอบจากสํานักงาน
- ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ และคุณสมบัติด้านฐานะการเงินอย่างครบถ้วนตามที่กําหนดไว้ในตารางแนบท้ายประกาศ
- กิจการที่ประกอบธุรกิจในลักษณะเงินร่วมลงทุนได้แก่นิติบุคคลร่วมลงทุนและกิจการเงินร่วมลงทุน
- บุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทดังกล่าว
- กรรมการผู้บริหารหรือพนักงาน
- ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
- บริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม บุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึงบุคคลที่เคยมีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งข้างต้น ซึ่งพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่เกิน 3 เดือน
- ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด